Get to know the teacup, chakin, a cloth for wiping tea cups

The tea ceremony, or Chadou, comes from the words Cha (Cha) meaning “tea” and Dou (Dou) meaning “way”, which together mean “way of tea”. The highest purpose of the tea ceremony is to express the beauty of welcoming visitors, to appreciate the value and beauty of things around us, and to foster friendship between host and guest. The basic equipment for a complete tea ceremony includes:

  1. Kama (Kama) a kettle used for boiling water for tea.
  2. Natsume (Natsume) a jar for matcha powder
  3. Chaire (Chaire) teapot
  4. Chashaku (Chashaku) is a long, pointed spoon made of bamboo. See more at shorturl.at/alIZ1.
  5. Chasen (Chasen) A tool for stirring tea, made of bamboo. See more at shorturl.at/sDGIT or shorturl.at/aqBT2.
  6. Chawan (Chawan) A large tea cup that varies depending on the season.
  7. Chakin (Chakin) a cloth for wiping tea cups
  8. Hishaku (Hishaku) a ladle for scooping water for tea brewing

Matchazuki has introduced you to many types of tea ceremony equipment. This time, we will introduce you to a small cloth called a Tea cloth (茶巾, chakin). Chakin is mostly white linen, but nowadays, it is also made with more patterns. The size varies depending on the use and style, but it is usually a rectangle of about 30.3 x 15.2 cm. The cloth is folded in a specific way and placed in a small container or cylinder called a kintō (巾筒). The chakin is commonly used to wipe chawan, or tea cups, after washing. The way to use the chakin requires that it be folded beautifully for easy and neat use, so that it looks elegant during the tea ceremony.

You can see more folding methods at https://www.youtube.com/watch?v=Uv-wxLKVxuI&ab_channel=KoheiYamamoto

You can see how chakin is used to wipe tea cups (chawan) as shown in the example in the picture above. After folding, it is placed in the tea cup (chawan) before starting the ceremony as shown in the example below. If any shop has a tea ceremony activity in the shop so that customers can really experience the Japanese tea ceremony, don’t forget to bring the chakin cloth as part of the activity.

Source

https://www.facebook.com/MatsuKazeTea/photos/a.563146407056813/3132182870153141/shorturl.at/abqHN

Article from: Fuwafuwa

Matcha Bingsu & Kakigori: Effortless Homemade Indulgence

เชื่อว่าพอเข้าหน้าร้อน ขนมที่ทุกคนต้องนึกถึงคงหนีไม่พ้น น้ำแข็งใส หรือในภาษาญี่ปุ่น ที่เรียกว่า คากิโกริ ซึ่งกล่าวกันว่า การกินน้ำแข็งไสมีมาตั้งแต่สมัยเฮอัน (Heian Period) โดยในสมัยนั้นจะเอาน้ำแข็งก้อนที่ได้จากธรรมชาติมาฝนด้วยมีดและเหล็กจนกลายเป็นเกล็ด แล้วนำมากินคู่กับน้ำหวานจากผลไม้และดอกไม้ ซึ่งลักษณะเด่นของคากิโกริ คือ เกล็ดน้ำแข็งของคากิโกริจะมีความละเอียดนุ่ม ส่วนใหญ่จะไม่มีรสชาติ แต่จะเน้นการเติมนมหรือไซรัปรสชาติต่างๆ เพื่อให้มีความหวานหอมจัดจนทั่ว ด้านบนนิยมเป็นครีมรสชาติต่างๆ ตกแต่งด้วยผลไม้สด หรือเผือกกวน ถั่วกวน ส่วนข้างในก็จะมีไส้ความอร่อยซุกซ่อนอยู่ตามแต่จะครีเอต ราดด้วยซอสรสต่างๆ มาเพิ่มรสชาติ

ส่วนบิงซูของชาวเกาหลีที่ได้รับวัฒนธรรมการกินจากชาวญี่ปุ่น คือ น้ำแข็งไส ที่มีลักษณะเด่นๆ คือ ต้องมี 3 ส่วนผสมหลัก ได้แก่ ถั่วแดง แป้งต๊อก (เค้กข้าวเกาหลีสีขาวเหนียวๆ ) และผงแป้งที่ทำจากถั่วและธัญพืช นับเป็นขนมหวานเย็นเพื่อสุขภาพของชาวเกาหลี บิงซู จะมีลักษณะเป็นเกล็ดน้ำแข็งนุ่มคล้ายปุยหิมะขาวโพลนไม่ต่างกัน อาจจะมีการทำน้ำแข็งให้เป็นรสชาติต่างๆบ้าง รสชาติน้ำแข็งจะมีรสหวานนมอ่อนกว่า เพราะต้องกินกับท็อปปิ้งนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นซอสนมข้น ผลไม้สด ไอศกรีม ชีส ครีมสด ผงแป้งหลากรสชาติ และที่ขาดไม่ได้เลยก็คือ “แป้งต๊อก” ที่ต้องซ่อนอยู่ ร่วมด้วย ส่วนซอสก็มีนมให้ราดด้วยเหมือนกัน หรืออาจจะเป็นน้ำเชื่อมรสต่างๆ น้ำผลไม้ เรื่อยไปจนถึงค็อกเทล

หากจะเทียบกันชัดๆก็คากิโกริดูเรียบง่ายคล้ายกับภูเขาขนาดย่อมที่ซ่อนความอร่อยหอมหวาน ขณะที่บิงซูจะมีความวาไรตี้และไร้แบบแผน นั่นเอง หากใครที่ชอบกินชาเขียว แน่นอนว่าคากิโกริ และบิงซูชาเขียวต้องเป็นอีกหนึ่งเมนูที่อยากลองทำทานเอง วิธีทำแค่เพียง ผสมผงมัทฉะ 1 ช้อนโต๊ะ และน้ำตาล 50 กรัมให้เข้ากันในภาชนะ เทน้ำร้อนตามลงไป 60 ml. และตีให้เข้ากัน เตรียมน้ำแข็งใสที่ปั่นจากเครื่องให้พร้อม และราดมัทฉะไซรัปลงไปได้เลย ตกแต่งได้ตามใจชอบเลย ว่าจะเสิร์ฟคู่กับแป้งต็อกราดนมสไตล์บิงซู หรือถ้าสไตล์ญี่ปุ่นต้องเสิร์ฟคู่ถั่วแดง โมจิ และไอศครีมรสชาเขียว จะเข้ากันดีที่สุด

อีกสูตรที่แนะนำให้ลองเป็นคากิโกริชาเขียวทีรามิสุ ที่ชงชาเขียวลาเต้แบบปกติก่อน แล้วนำไปเทลงแม่พิมพ์น้ำแข็ง แช่จนแข็งดี ผสมครีมมัทฉะทีรามิสุโดยเท ชีสมาสคาโปน 100 กรัม + ผงชาเขียวมัทฉะ 1 ช้อนโต๊ะ + น้ำตาล 1 ช้อนโต๊ะ + ครีมสด 100 มล แล้วใช้ตะกร้อคนให้เข้ากัน หลังจากนั้นนำน้ำแข็งชาเขียวลาเต้ที่ทำไว้ออกมาเข้าเครื่องบดน้ำแข็ง ใส่ชามให้เรียบร้อย จึงค่อยราดด้วยครีมชาเขียวทีรามิสุ ตกแต่งด้วยผงมัทฉะ หรือเสิร์ฟคู่กับผลไม้สดก็อร่อยตัดรสกันได้ดี

ลองทำทานดูที่บ้านแล้วเปลี่ยนท้อปปิ้งที่ทานคู่กับน้ำแข็งไสชาเขียวไปเรื่อยๆ อาจจะเป็นขนมปังบ้าง ไอศครีม โยคัง วาราบิโมจิหรือ ขนมประเภทต่างๆ ก็อาจจะเจอรสชาติใหม่ที่ลงตัว

ที่มา 

trip.kyoto.jp

reddit.com

fashion-press.net

letempsduthe.fr

บทความจาก : Fuwafuwa